โหวด - Traditional Objects of Everyday use

THB 0.00

โหวด เดิมโหวดมี ๕ เสียง ใช้บรรเลงเพลงพื้นบ้านร่วมกับพิณ และแคน ผู้คิดค้นให้โหวดสามารถเล่นร่วมกับดนตรีสากลได้ เป็นคนแรก คือ อาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ จังหวัดร้อยเอ็ดจึงได้ยกย่องให้โหวด เป็นเครื่องดนตรี

ROI ET TOWER หรือ หอโหวด ๑๐๑ Landmark แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ใจกลางเมือง โดยมีลักษณะโครงสร้างเป็นรูปทรง”โหวด” หอโหวดร้อยเอ็ด วัสดุในการทำโหวด · ๑ ไม้ไผ่เฮี่ย หรือไม้กู่แคน · ๒ ไม้ไผ่รวกหรือไม้ไผ่เชี่ยงไพ ใช้ทำแกนกลาง · ๓ ขี้สูดเป็นตัวยึดไม้ลูกโหวดให้ตัดกับแกนกลองและทำจมูกโหวดและอุดรูไม้ไผ่เฮีย หรือไม้กู่แคนเพื่อให้เกิดเสียง

ปริมาณ:
โหวด
Add to cart

โหวด เดิมโหวดมี ๕ เสียง ใช้บรรเลงเพลงพื้นบ้านร่วมกับพิณ และแคน ผู้คิดค้นให้โหวดสามารถเล่นร่วมกับดนตรีสากลได้ เป็นคนแรก คือ อาจารย์ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ จังหวัดร้อยเอ็ดจึงได้ยกย่องให้โหวด เป็นเครื่องดนตรี

โหวด ROI ET TOWER หรือ หอโหวด ๑๐๑ Landmark แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ใจกลางเมือง โดยมีลักษณะโครงสร้างเป็นรูปทรง”โหวด”

วัสดุในการทำโหวด · ๑ ไม้ไผ่เฮี่ย หรือไม้กู่แคน · ๒ ไม้ไผ่รวกหรือไม้ไผ่เชี่ยงไพ ใช้ทำแกนกลาง · ๓ ขี้สูดเป็นตัวยึดไม้ลูกโหวดให้ตัดกับแกนกลองและทำจมูกโหวดและอุดรูไม้ไผ่เฮีย หรือไม้กู่แคนเพื่อให้เกิดเสียง